Want to make creations as awesome as this one?

More creations to inspire you

Transcript

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2โรงเรียนปงรัชดาภิเษก

circulatorysystem

ระบบหมุนเวียนเลือด

Start

ว22101 วิทยาศาสตร์

จัดทำโดย นางสาวณัฐสุดา ขาวสอาด

วัตถุประสงค์

1. บรรยายโครงสร้าง และหน้าที่ของหัวใจ หลอดเลือด และเลือด

2. อธิบายการทำงานของระบบหมุนเวียนเลือด

3. ตระหนักถึงความสำคัญของระบบหมุนเวียนเลือด โดยการบอกแนวทางปฏิบัติตนในการดูแลรักษาใน ระบบหมุนเวียนเลือดให้ทำงานปกติ

บทนำ

บทเรียนนี้เราจะเรียนรู้เกี่ยวกับระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือดเป็นระบบขนส่งสารต่างๆทั่วร่างกาย เช่น สารอาหาร แก๊สออกซิเจน และนำของเสียที่เกิดจากกิจกรรมของเซลล์ เช่น ยูเรีย แก๊สคาร์บอนไดออกไซต์ มากำจัดออกจากร่างกายของเรา

คู่มือการใช้บทเรียน

1. ให้ทำแบบทดสอบก่อนเรียน ก่อนเข้าเรียนเนื้อหา

2. ศึกษาเนื้อหาบทเรียน เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือด ซึ่งมีทั้งหมด 4 เรื่อง

ให้นักเรียนปฎิบัติดังนี้

3. ให้ทำแบบฝึกหัดหลังจากเรียนเนื้อหา เพื่อให้ทบทวนบทเรียนที่ได้เรียนมา

4. ทำแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินผลการเรียนของตนเอง หากนักเรียนได้คะแนนต่ำกว่าร้อยละ 60 ให้กลับไปทบทวนบทเรียนใหม่ แล้วกลับมาทำแบบทดสอบหลังเรียนซ้ำ

สัญลักษณ์ในบทเรียน

คู่มือการใช้บทเรียน

กลับไปยังเนื้อหาก่อนหน้า

เนื้อหาหน้าถัดไป

กลับไปยังหน้าหลัก

ปุ่มบทเรียนเพิ่มเติม

แบบทดสอบก่อน - หลังเรียน

Menu

บทเรียน

แบบฝึกหัด

สารบัญ

ระบบหมุนเวียนเลือด

ชีพจร และความดันเลือด

การดูแลรักษาอวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือด

โรคที่เกี่ยวข้องระบบหมุนเวียนเลือด

เลือด

ประกอบด้วยอวัยวะสำคัญ คือ หัวใจ ทำหน้าที่สูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกายมีหลอดเลือดเป็นท่อลำเลียงเลือด

หัวใจ

หลอดเลือด

ระบบหมุนเวียนเลือด

โครงสร้างของหัวใจ

VDO การเต้นของหัวใจ

หัวใจห้องบน

หัวใจห้องล่าง

ลิ้นหัวใจ

3D heart

หลอดเลือดฝอย

หลอดเลือด

ทำหน้าที่ลำเลียงเลือดไปยังอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย แบ่งออกเป็น 3 ชนิด

หลอดเลือดฝอย

หลอดเลือดฝอย

ลอดเลือดเวน

หลอดเลือดฝอย

หลอดเลือดฝอย

หลอดเลือดเวน(vein)

หลอดเลือดอาร์เตอรี (artery)

หลอดเลือดฝอย(capillary)

ตารางเปรียบเทียบหลอดเลือดของมนุษย์

หน้าที่

ปริมาณ O2 (ถ้าสูงเลือดสีแดง)

ความหนาผนัง

ความเร็วของเลือด

ลิ้นกั้นในหลอดเลือด

กลไกการลำเลียง

นำเลือดส่งไปเลี้ยงที่อวัยวะ ต่างๆ

สูง ยกเว้นพัลโมนารี อาร์เตอรี

อาร์เตอรี (Artery)

เวน (Vein)

เลือดฝอย (Capillary)

นิยาม

นำเลือดออกจากหัวใจ

นำเลือดเข้าสู่หัวใจ

เชื่อมกับอาร์เตอรี และเวน

ต่ำ ยกเว้นพัลโมนารี เวน

นำเลือดใช้แล้วจากอวัยวะ ต่างๆ กลับเข้าสู่หัวใจ

แลกเปลี่ยนก๊าซ และสารต่างๆ

-

มียกเว้นพัลโมนารี เวน

หนาที่สุด

เร็วที่สุด

ไม่มี ยกเว้นพัลโมนารี อาร์เตอรี

แรงดันเลือด

หนารองลงมา

เร็วรองลงมา

กล้ามเนื้อลายหดตัว และมี ลิ้นป้องกันการไหลย้อน

บางที่สุด

ช้าที่สุด

ไม่มี

หลักการแพร่

ข้อเปรียบเทียบ

หลอดเลือดฝอย

หลอดเลือดเอออร์ตา (Aorta)

อาร์เตอรี (Artery)

อาร์เตอรีโอล (Arteriole)

หลอดเลือดเวนาคาวา (Vena cava)

เวนูล (Venule)

หลอดเลือดอาร์เตอรี

หลอดเลือดเวน

ขนาดของหลอดเลือด

หลอดเลือดฝอย(capillary)

หลอดเลือดเอออร์ตา (Aorta)

น้ำเลือด(พลาสมา)

55%

เซลล์เม็ดเลือด

45%

ในร่างกายของคนเรามีเลือดอยู่ประมาณร้อยละ 9 – 10 ของน้ำหนักตัว หรือประมาณ 5 ลิตร และมีสมบัติเป็นเบสอ่อน

เพลตเลต

เม็ดเลือดแดง

เบโซฟิล

เพลตเลต

เม็ดเลือดขาว

เม็ดเลือดแดง

เลือดประกอบด้วย 2 ส่วน

เลือด (Blood)

เบโซฟิล

นิวโทรฟิล

อีโอสิโนฟิล

ลิมโฟไซท์

โมโนไซต์

หลอดเลือดเอออร์ตา (Aorta)

วัคซีน VS เซรุ่ม คืออะไร เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร?

วัคซีน (Vaccine) เป็นยาชนิดหนึ่งที่นำ"เชื้อโรค" ที่ถูกทำให้ มีฤทธิ์อ่อนลงจน "ไม่เป็นอันตราย" มาใช้สำหรับ ฉีดหรือกินเพื่อกระตุ้นให้ร่างกาย "เกิดภูมิคุ้มกันโรค" ซึ่งเกิดจากเชื้อนั้น ๆ

เซรุ่ม (Serum) คือของเหลวสีเหลืองที่สกัดมาจากเลือดคนหรือสัตว์อื่นที่มีภูมิคุ้มกันโรคนั้นๆ อยู่แล้ว

หลอดเลือดเอออร์ตา (Aorta)

สาระน่ารู้เกี่ยวกับการให้เลือด และรับเลือดเลือด

ในเลือดคนเรามีส่วนประกอบที่สำคัญอยู่ 2 ส่วนคือ แอนติเจน และ แอนติบอดี โดยแอนติเจนจะอยู่บนผิวของเซลล์เม็ดเลือด ส่วนแอนติบอดีอยู่บนน้ำเลือด ซึ่งแต่ละคนจะมีไม่เหมือนกัน

ซึ่งปกติ แอนดิบอดี A จะโจมตี แอนติเจน B และ แอนดิบอดี B จะโจมตี แอนติเจน A ดังนั้นผู้ให้และผู้รับต้องมีแอนติเจนตรงกับแอนติบอดี เพราะจะทำให้เลือดจับตัวและเกิดการตกตะกอน ดังนั้น

กรุ๊ปเลือด A

กรุ๊ปเลือด AB

กรุ๊ปเลือด B

กรุ๊ปเลือด 0

สารแอนติเจน Aแอนติเจน B (anti B)

สารแอนติเจน Bแอนติเจน A (anti A)

สารแอนติเจน ABไม่มีแอนติเจน

ไม่มีสารแอนติเจน แอนติเจน AB

หลอดเลือดเอออร์ตา (Aorta)

สาระน่ารู้เกี่ยวกับการให้เลือด และรับเลือดเลือด

- หมู่เลือด A รับเลือดจาก A, O ได้ และให้เลือด A และ AB - หมู่เลือด B รับเลือดจาก B, O ได้ และให้เลือด B และ AB - หมู่เลือด AB รับเลือดได้จากทุกหมู่ และให้เลือดได้เฉพาะ AB- หมู่เลือด O รับเลือดได้หมู่เลือด O เท่านั้น และให้เลือดได้ทุกหมู่

ให้ รับ

ให้ รับ

ให้ รับ

ให้ รับ

หลอดเลือดเอออร์ตา (Aorta)

ตำแหน่งของชีพจร

ข้างคอ

ข้อพับศอก

ข้อมือ

ขาหนีบ

ชีพจร และความดันเลือด

การวัดอัตราการเต้นของหัวใจ

ชีพจร เกิดจากการบีบตัวของหัวใจ ทำให้เกิดแรงมากระทบผนังหลอดเลือด ซึ่งทำให้หลอดเลือดขยายตัวเพื่อรับเลือด และหดตัวเพื่อส่งเลือดตามจังหวะการบีบตัวของหัวใจแต่ละครั้ง สามารถบอกถึงอัตราการเต้นของหัวใจได้

ชีพจร

หลอดเลือดเอออร์ตา (Aorta)

เป็นแรงดันเลือดที่เกิดจากหัวใจสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกาย ขณะหัวใจบีบตัวและคลายตัวจะทำให้เลือดมีแรงดันไปกระทบกับผนังของหลอดเลือด ซึ่งวัดได้ 2 ค่า

ความดันเลือด

คนปกติมีค่าความดันโลหิต 120/80 มิลลิเมตรปรอท

120

80

S2 = ไดแอสโทลิก ค่าความดันโลหิต ขณะหัวใจคลายตัว

S1 = ซีสโทลิกค่าความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัว

หลอดเลือดเอออร์ตา (Aorta)

โรคที่เกี่ยวข้องระบบหมุนเวียนเลือด

โรคความดันโลหิตสูง

เป็นภาวะที่แรงดันในหลอดเลือดอาร์เตอรีมีค่าสูงกว่าปกติ คือ 140/90 มิลลิเมตรปรอท หรือสูงกว่า

การรักษาโรค

อาการของโรค

สาเหตุของโรค

หลอดเลือดเอออร์ตา (Aorta)

สรุปการทำงานของระบบหมุนเวียนเลือด

เริ่มจากเลือดจากอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ซึ่งเป็นเลือดที่มีแก๊สออกซิเจนต่ำ ไหลเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา หัวใจจะบีบตัวเลือดจะไหลผ่านลิ้นหัวใจลงสู่หัวใจห้องล่างขวา และส่งเลือดผ่านหลอดเลือดอาร์เตอรีไปยังปอดทั้ง 2 ข้าง เพื่อแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และจะไหลจากปอดทั้ง 2 ข้าง กลับเข้าสู่หัวใจท้องบนซ้ายทางหลอดเลือดเวน เมื่อหัวโจบีบตัวเลือดจะไหลผ่านลิ้นหัวโจลงสู่หัวใจห้องล่างซ้าย และเมื่อหัวใจบีบตัวอีกครั้งก็จะส่งเลือดที่มีแก๊สอกซิเจนสูงไปทางหลอดเลือดอาร์เตอรึ เพื่อไปแลกเปลี่ยนแก๊สที่เซลล์ของอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย หลังการแลกเปลี่ยนแก๊ส เลือดจะมีแก๊สออกซิเจนต่ำ จะไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนขวาอีกครั้ง

VDO ระบบหมุนเวียนเลือด

หลอดเลือดเอออร์ตา (Aorta)

การดูแลรักษาอวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือด

ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง และรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่

นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ

หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ และการใช้สารเสพติด

รักษาภาวะอารมณ์ให้ปกติ ไม่เครียด

Start

ระบบหมุนเวียนเลือด

circulatorysystem

คำแนะนำ

ร่วมผจญภัยใต้น้ำที่น่าตื่นเต้น เพื่อค้นหาสมบัติที่สูญหายไปของพระราชา จากการถูกมังกรผู้ชั่วร้ายขโมยกุญแจไป มาร่วมผจญภัย เพื่อนำกุญแจกลับคืนมา พร้อมทั้งร่วมไขปริศนาและความท้าทายที่คุณจะพบระหว่างทางและยึดทรัพย์สินที่ซ่อนอยู่ในส่วนลึกของทะเล!

LEVEL 1:โครงสร้างของหัวใจ

โครงสร้างของหัวใจ

ให้นักเรียนตอบคำถามให้ถูกต้อง เพื่อหลีกเลี่ยงให้เรือดำน้ำชนกับก้อนหิน

1/4

00:15

2/4

00:15

3/4

00:15

4/4

00:15

LEVEL 2:หลอดเลือด

หลอดเลือด

นักเรียนได้ผจญภัยเข้าไปในความมืดมิดที่ลึกที่สุดของพื้นมหาสมุทร ลุยกันต่อไปเถอะ !

1/4

00:15

หลอดเลือดฝอย

หลอดเลือดเวน

หลอดเลือดอาร์เตอรี

Lobster

หลอดเลือดดำ

ให้นักเรียนค้นหาคำตอบให้ถูกหลอดเลือดชนิดใดที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊สที่ถุงลมปอดและเนื้อเยื่อของร่างกาย

ลากไฟไปยังคำตอบที่ถูกต้อง

2/4

00:15

หลอดเลือดอารืเตอรี

หลอดเลือดฝอย

หลอดเลือดเวนาคาวา

หลอดเลือดเวน

ให้นักเรียนค้นหาคำตอบที่ถูกต้องหลอดเลือดใดที่นำเลือดออกจากหัวใจไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย

3/4

หลอดเลือดเวน

00:15

หลอดเลือดฝอย

หลอดเลือดอาร์เตอรี

วัดได้ทุกหลอดเลือด

ให้นักเรียนค้นหาคำตอบให้ถูกต้องหลอดเลือดชนิดใดที่สามารถจับชีพจรได้

4/4

00:15

แรงดันในหลอดเลือดอาร์เตอรีสูงกว่าในหลอดเลือดเวน

หลอดเลือดเวนมีความยืดหยุ่นสูงกว่าหลอดเลือดอาร์เตอรี

ลิ้นภายในหลอดเลือดพบเฉพาะภายในหลอดเลือดอาร์เตอรี

หลอดเลือดอาร์เตอรีมีผนังบางกว่าหลอดเลือดเวน

ให้นักเรียนค้นหาคำตอบให้ถูกต้องข้อใดกล่าวถึงความแตกต่างระหว่างหลอดเลือดอาร์เตอรีและหลอดเลือดเวนได้ถูกต้อง

LEVEL 3:เลือด

เลือด (Blood)

แย่แล้วนักเรียนสาหร่ายขนาดใหญ่ขัดขวางไม่ให้นักเรียนเดินต่อไปได้ รีบเลือกคำตอบที่ถูกต้องก่อนหมดเวลา!

1/4

00:15

2/4

00:15

3/4

00:15

4/4

00:15

LEVEL 4:ชีพจร และความดัน

1/4

เลือกให้ถูกต้องนะคะนักเรียนความดันเลือดของคนปกติมีค่าเท่ากับเท่าใด

00:15

120/80 มิลลิเมตรปรอท

190/20 มิลลิเมตรปรอท

ชีพจร และความดัน

นักเรียนได้เดินทางมาถึงถ้ำแล้ว เป็นที่ที่นักเรียนจะต้องเลือกเส้นทางให้ถูกต้อง เลือกตามสัญชาตญาณของนักเรียนและระวังอย่าหลงทางนะ!

เลือกให้ถูกต้องนะคะนักเรียนเมื่อคนถูกงูเห่ากัด ต้องรักษาโดยได้รับสิ่งใด

วัคซีน

เซรุ่ม

3/4

00:15

2/4

00:15

เลือกให้ถูกต้องนะคะนักเรียนความดันเลือดของสมชายวัดค่าได้ 110/70 มิลลิเมตรปรอท "ตัวเลข 110 หมายถึงอะไร"

ความดันขณะหัวใจบีบตัว

ความดันขณะหัวใจคลายตัว

4/4

00:15

เลือกให้ถูกต้องนะคะนักเรียนบริเวณใดของร่างกายสามารถตรวจวัดชีพจรได้

ข้อมือ

ข้อเท้า

LEVEL 5:Marine Opera

บทสรุปที่น่าตื่นเต้น

ได้ยินเสียงดนตรีมาแต่ไกล... มันคือเสียงโอเปร่าจากเหล่าสัตว์ที่อยูใต้ท้องทะเลที่ตัดสินใจจัดคอนเสิร์ตขึ้น! ให้นักเรียนจับคู่ให้สอดคล้องกับรูปภาพที่ครูกำหนดไว้ให้

รับเลือดที่มี O2สูงจากปอด ทั้งสองข้าง

รับเลือดที่มี O2ต่ำจากอวัยวะต่างๆของร่างกาย

โครงสร้างของหัวใจ

ส่งเลือดที่มี O2 สูงไปยังอวัยวะต่างๆของร่างกาย

ส่งเลือดที่มี O2ต่ำจากอวัยวะต่างๆของร่างกาย

2/4

A

D

B

B

C

B

A

c

D

เฉลย

1/4

โครงสร้างของหัวใจ

B

A

c

A

B

D

หัวใจห้องลบนขวา

หัวใจห้องล่างขวา

หัวใจห้องล่างซ้าย

หัวใจห้องบนซ้าย

C

D

3/4

ผนังหนาและยืดหยุ่นดี มีแรงดันเลือดสูงและคงที่

ผนังบาง ความดันต่ำกว่าหลอดเลือดอาร์เตอรี มีลิ้นกั้นภายใน

มีผนังบาง ประกอบด้วยเซลล์เพียงชั้นเดียว

A

C

B

หลอดเลือด

B

A

c

เพลตเลต

เม็ดเลือดแดง

4/4

ทำหน้าที่ทำลายเชื้อโรค

รูปร่างกลมแบน ตรงกลางบุ๋ม ไม่มีนิวเคลียส

ช่วยการแข็งตัวของเลือด

A

เบโซฟิล

นิวโทรฟิล

C

B

อีโอสิโนฟิล

เลือด

ลิมโฟไซท์

โมโนไซต์

B

A

c

????

VS

Let's go!

00:15

00:15

00:15

คุณเอาชนะมังกรได้แล้ว!มาเลย ใช้กุญแจสิ!

Start over

Congratulations!

คุณได้พบหีบที่เต็มไปด้วยโบราณวัตถุอันมีค่า !

เลือกใช่กุญแจเปิดหีบสมบัติได้เลย

Start over

Wow!

Who would have thought that inside the treasure lies... a map to another treasure? It seems like the adventures of this submarine don't end here!

What a surprise!

It seems that the henchmen of King Eel have chosen you as the new sovereign. Will you choose the path of good or prefer to maintain the legacy of evil?

Start over

หลอดเลือดเอออร์ตา (Aorta)

เป็นหลอดเลือดที่นำเลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนต่ำจากส่วนบนของร่างกาย เช่น ศรีษะ แขน เป็นต้น เพื่อส่งเลือดกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา

ซูฟีเรียเวนาคาวา ( superior venacava)

ส่งเลือดไปยังปอดทั้ง 2 ข้างเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส

หัวใจห้องล่างขวา

ส่งเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆของร่างกาย

หัวใจห้องล่าง มี 2 ห้อง เรียกว่า เวนทริเคิล(ventricle) ซึ่งจะมีผนังหนากว่าหัวใจห้องบนเนื่องจากหัวใจห้องล่างต้องสูบฉีดเลือดเพื่อนำไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย จึงต้องอาศัยกล้ามเนื้อในการหดตัวและคลายตัว

หัวใจห้องล่างซ้าย

หัวใจห้องล่างขวา

หัวใจห้องล่างซ้าย

Continue

ทำหน้าที่ทำลายเชื้อโรค

รูปร่างกลมแบน ตรงกลางบุ๋ม ไม่มีนิวเคลียส

ช่วยการแข็งตัวของเลือด

เป็นหลอดเลือดที่มีการเชื่อมโยงระหว่างหลอดเลือดแดงฝอย (Arteriole) กับหลอดเลือดดำฝอย (Venule) เป็นหลอดเลือดที่มีขนาดเล็ก มีผนังบางมาก และมีจำนวนมาก เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนอาหาร ก๊าซสารต่างๆ และของเสียระหว่างเลือดกับเซลล์ของร่างกาย ซึ่งการที่มีหลอดเลือดฝอยจำนวนมากในร่างกายเป็นการเพิ่มพื้นที่ผิว ทำให้การแลกเปลี่ยนอาหาร ก๊าซ และสารต่างๆระหว่างเซลล์กับเลือดมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

หลอดเลือดฝอย (capillary)

Try again!

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Try again!

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Try again!

Try again!

Continue

หัวใจห้องล่างซ้าย

หัวใจห้องล่างขวา

หัวใจห้องบนซ้าย

หัวใจห้องบนขวา

ลักษณะ : ไม่มีสี มีรูปร่างกลม และมีนิวเคลียสแหล่งสร้าง : ม้าม ไขกระดูก และต่อมน้ำเหลือง เซลล์เม็ดเลือดขาวนี้มีอายุประมาณ 7–14 วัน ก็จะถูกทำลายหน้าที่ : ต่อสู้กับเชื้อโรค สิ่งแปลกปลอมต่างๆที่เข้าสู่ร่างกาย และสร้างแอนติบอดี (antibody) ซึ่งทำหน้าที่เป็นภูมิคุ้มกันของร่างกาย

เซลล์เม็ดเลือดขาว (Leukocyte)

แบ่งเป็น 2 ชนิด ตามหน้าที่ คือ ฟาโกไซต์ (Phagocyte) : มีวิธีการทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมแบบเขมือบ (Phagocytosis) ลิมโฟไซต์ (Lymphocyte) : สร้างภูมิคุ้มกัน (Immunity) โดยหลั่งแอนติบอดี้ (Antibody) ต่อสู้กับเชื้อโรค

นิวโทรฟิล

อีโอสิโนฟิล

ลิมโฟไซท์

โมโนไซต์

เบโซฟิล

ลักษณะ : ค่อนข้างกลม ตรงกลางบุ๋มลงไปทั้งสองข้าง ไม่มีนิวเคลียส แหล่งสร้าง : ไขกระดูก เม็ดเลือดแดงมีอายุประมาณ 80-120 วัน หลังจากนั้นจะถูกส่งไปทำลายที่ตับ ม้ามหน้าที่ : ลำเลียงก๊าซออกซิเจนจากปอดไปยังเซลล์ต่างๆ และลำเลียงก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์ต่าง ๆ กลับเข้าสู่ปอด

เซลล์เม็ดเลือดแดง (Erythrocyte, Red blood cell/RBC)

เม็ดเลือดแดง มีส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นโปรตีน ซึ่งมีเหล็ก (Fe) เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ เรียกว่า เฮโมโกลบิน ทำหน้าที่จับกับออกซิเจน

เฮโมโกลบิน

เหล็ก (Fe)

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

เป็นหลอดเลือดที่นำเลือดฟอกแล้วจากปอดรวบรวมกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย

พัลโมนารีเวน (Pulmonary vein)

Try again!

คือ ส่วนที่เป็นของเหลวมีประมาณร้อยละ 55 ของปริมาณเลือดทั้งหมดในร่างกายประกอบด้วย : น้ำประมาณร้อย 91 ส่วนที่เหลือ ได้แก่ สารอาหารต่างๆ เช่น โปรตีน วิตามิน แร่ธาตุ เอนไซม์ฮอร์โมนและก๊าซต่างๆ รวมทั้งของเสีย ที่ร่างกายไม่ต้องการ เช่น ยูเรีย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นต้นทำหน้าที่ : ลำเลียงเอนไซม์ ฮอร์โมน และแก๊สไปเลี้ยงเซลล์ต่างๆของร่างกาย และลำเลียงของเสียต่างๆ ส่งไปกำจัดออกนอกร่างกาย

น้ำเลือด หรือ พลาสมา (plasma)

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Try again!

Try again!

Try again!

Try again!

Try again!

Continue

ผนังหนาและยืดหยุ่นดี มีแรงดันเลือดสูงและคงที่

ผนังบาง ความดันต่ำกว่าหลอดเลือดอาร์เตอรี มีลิ้นกั้นภายใน

มีผนังบาง ประกอบด้วยเซลล์เพียงชั้นเดียว

การวัดอัตราการเต้นของหัวใจ

1. หงายมือข้างหนึ่งขึ้น แล้วใช้นิ้วของมืออีกข้างหนึ่งแตะเบา ๆ บนข้อมือที่หงายอยู่ตรงตำแหน่งที่สามารถจับชีพจรได้2. สังเกตและนับจำนวนครั้งของชีพจร ในเวลา 1 นาที และบันทึกผล3. ทำซ้ำในข้อ 2 ซ้ำอีก 2 ครั้งแล้วหาค่าเฉลี่ย

ปกติแล้วคนทั่วไปชีพจรจะเต้น 60-100 ครั้งต่อนาที

รู้หรือไม่ : คนที่มีสุขภาพดีชีพจรจะเต้นต่ำกว่า 90 ครั้ง/นาที

เซลล์เม็ดเลือด

ส่วนที่เป็นของแข็ง ได้แก่ เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด ซึ่งมีอยู่ประมาณร้อยละ 45 ของปริมาณเลือดทั้งหมดในร่างกาย

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

เป็นหลอดเลือดที่นำเลือดไปฟอกปอด

พัลโมนารีอาร์เทอรี (Pulmonary artery)

เป็นหลอดเลือดที่นำเลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนต่ำจากส่วนล่างของร่างกายเพื่อส่งเลือดกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา

อินฟีเรียเวนาคาวา ( inferior venacava)

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

หัวใจห้องบนขวา

หัวใจห้องบนซ้าย

หัวใจห้องบนขวา

หัวใจห้องบนซ้าย

รับเลือดทีมีแก๊สออกซิเจนต่ำจากอวัยวะต่างๆของร่างกาย

รับเลือดทีมีแก๊สออกซิเจนสูงจากปอดทั้งสองข้าง

หัวใจห้องบน มี 2 ห้อง เรียกว่า เอเทรียม(atrium) ซึ่งจะมีผนังบางกว่าหัวใจห้องล่าง

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Try again!

Try again!

Try again!

Try again!

Try again!

หลอดเลือดที่นำเลือดกลับสู่หัวใจลักษณะของหลอดเลือดเวน เป็นหลอดเลือดที่มีผนังบางกว่าหลอดเลือดอาร์เตอรี จึงมีช่องตรงกลางใหญ่และจุเลือดได้มาก ความดัน ในหลอดเลือดเวนจะต่ำ ดังนั้น หลอดเลือดเวนจึงมีลิ้นกั้นเป็นระยะ ช่วยป้องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ เลือดที่บรรจุอยู่ในหลอดเลือดเวนจะมีปริมาณออกซิเจนต่ำ (ยกเว้นหลอดเลือดที่นำเลือดที่ฟอกแล้วจากปอดกลับเข้าสู่หัวใจ (Pulmonary vein) ดังนั้น จึงเรียกหลอดเลือดดำ

หลอดเลือดเวน (vein)

อดเลือด(vein)

อดเลือด(vein

ทำหน้าที่ป้องกันเลือดไหลย้อนกลับ และให้เลือดไหลไปในทิศทางเดียว

ลิ้นหัวใจ (Vale)

ลิ้นไบคัสปิด (bicuspid)

ลิ้นเอออร์ติกเซมิลูนาร์ (aortic semilunar)

ลิ้นไตรคัสปิด (tricuspid)

ลิ้นพัลโมนารีเซมิลูนาร์ (pulmonary semilunar)

กั้นระหว่างห้องบนขวาและล่างขวา

กั้นระหว่างห้องบนซ้ายและล่างซ้าย

กั้นระหว่างหัวใจห้องล่างขวา กับหลอดเลือดพัลโมนารีเวน

กั้นระหว่างหัวใจห้องล่างซ้ายกับหลอดเลือดเอออร์ตา

มุมมองด้านบน

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Continue

รับเลือดที่มี O2สูงจากปอด ทั้งสองข้าง

รับเลือดที่มี O2ต่ำจากอวัยวะต่างๆของร่างกาย

ส่งเลือดที่มี O2 สูงไปยังอวัยวะต่างๆของร่างกาย

ส่งเลือดที่มี O2ต่ำจากอวัยวะต่างๆของร่างกาย

Try again!

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

เป็นหลอดเลือดแดงขนาดใหญ่ที่สุด รับเลือดที่ออกจากหัวใจห้องล่างซ้ายส่งไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย ผนังหลอดเลือดมีความยืดหยุ่นสูง ทําให้รับความดันโลหิตที่สูงและมีการหดกลับคืน ช่วยให้เลือดไปยังส่วนต่างๆ ได้ดี

เอออร์ตา (Aorta)

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Try again!

Try again!

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

ลักษณะ : เกล็ดเลือดไม่ใช่เซลล์แต่เป็นชิ้นส่วนของเซลล์มีรูปร่างกลม ไม่มีสี และไม่มีนิวเคลียสแหล่งสร้าง : ไขกระดูก และเกล็ดเลือดจะมีอายุประมาณ 10 วัน ก็จะถูกทำลายหน้าที่ : ทำให้เลือดแข็งตัว เมื่อเกิดบาดแผล

เกล็ดเลือด (Thrombocyte หรือ Blood platelet)

เกล็ดเลือดจะหลั่งสารไฟบริน ช่วยให้เลือดแข็งตัว และช่วยห้ามเลือดโดยจะจับตัวเป็น กระจุกอุดรูของเส้นเลือดฝอย

เมื่อเกิดบาดแผล

เซลล์เม็ดเลือดแดง

เเพลตเลต

บริเวณที่เกิดบาดแผล

ไฟบริน

เลือดแข็งตัว

เพลตเลต

Are you sure you want to go back to the beginning?

You will lose all your progress

หลอดเลือดที่นำเลือดออกจากหัวใจลักษณะของหลอดเลือดอาร์เตอรี จะมีผนังหนามีความยืดหยุ่นได้ดีและรักษาระดับความดันเลือดให้คงที่ได้เลือดที่บรรจุอยู่ในหลอดเลือดอาร์เทอรีจะเป็นเลือดที่มีปริมาณออกซิเจนสูง (ยกเว้น เลือดที่นำเลือดที่ออกจากหัวใจไปฟอกที่ปอด (Pulmonary artery) ดังนั้นจึงเรียกหลอดเลือดอาร์เทอรีว่า หลอดเลือดแดง

หลอดเลือดอาร์เตอรี(Artery)

Try again!