Function
จิรพัส ปานแก้ว
Created on February 24, 2022
Over 30 million people create interactive content in Genially
Check out what others have designed:
THE OCEAN'S DEPTHS
Presentation
2021 TRENDING COLORS
Presentation
POLITICAL POLARIZATION
Presentation
VACCINES & IMMUNITY
Presentation
LETTERING PRESENTATION
Presentation
ARTICLES
Presentation
PROMOTING ACADEMIC INTEGRITY
Presentation
Transcript
บทที่ 7
great
ฟังก์ชั่น
Start!
fUNCTION
วงกลมที่ 4
วงกลมที่ 3
วงกลมที่ 2
วงกลมที่ 1
function
คำศัพท์ที่เจอในฟังก์ชัน
ฟังก์ชันและการคิดเชิงนามธรรม
ตัวอย่างการเรียกใช้งานฟังก์ชัน
การเรียกใช้ฟังก์ชัน
ความหมายและนิยามของฟังก์ชัน
ความหมายของฟังก์ชัน
ความหมายและนิยามของฟังก์ชัน
ความหมายของฟังก์ชัน
01
Function
+ info
ฟังก์ชัน(Function) เป็นโปรแกรมย่อยที่เขียนขึ้นให้ทำงานเฉพาะตามที่กำหนด ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเรียกใช้ฟังก์ชันได้สะดวกโดยไม่ต้องเขียนชุดคำสั่งซ้ำอีก ทำห้การเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่ทำได้รวดเร็วและตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
ฟังก์ชัน คืออะไร?
ตัวอย่างการเรียกใช้งานฟังก์ชัน
การเรียกใช้ฟังก์ชัน
02
การส่งค่าและรับคืนค่าจากฟังก์ชัน
1.บรรทัดที่ 1 มีการเรียกใช้งานฟังก์ชัน int() และ input() ซ้อนกันอยู่ ซึ่งในกรณีทีมีฟังก์ชันซ้อนกันในไพทอน จะเริ่มประมวลผลจากฟังก์ชันที่อยู่บนสุดก่อน โดยเริ่มต้นฟังก์ชัน input() ถูกเรียกใช้ก่อน และไพทอนจะเริ่มส่ง ค่าสตริง”อายุของท่าน คือ”ไปให้กับฟังก์ชัน แล้วฟังก์ชัน input() จะแสดงสตริงนี้ออกทางจอภาพพร้อมกับรอรับการป้อนข้อมูลจากผู้ใช้ เมื่อผู้ใช้ป้อนข้อมูลแล้วกด Enter ฟังก์ชัน input() จะคืนค่าข้อมูลที่ป้อนออกมาเป็นสตริง เช่น ผู้ใช้ป้อนข้อความ ‘20’ เป็นการเรียกใช้ฟังก์ชัน int(input (‘อายุของท่าน’)) จะเปรียบเสมือน int(‘20’)
ตัวอย่าง การเรียกใช้งานฟังก์ชัน
การส่งค่าและรับคืนค่าจากฟังก์ชัน
2.จากนั้นไพทอนจึงประมวลผลฟังก์ชัน int(‘20’) ในทำนองเดียวกันคือ การเรียกฟังก์ชัน int() โดยส่งค่าสตริง ‘20’ ไปให้การทำงานของฟังก์ชัน int() ก็จะแปลงข้อมูลสตริงที่ถูกส่งมาให้เป็นจำนวนเต็ม 20 แล้ว คืนค่าจำนวนเต็มนี้กลับออกมา ดังนั้นการเรียกใช้คำสั่ง age=int(input(“อายุของท่าน คือ”)) จึงเปรียบเสมือน age=int(‘20’) นั้นก็คือ age=20 นั้นเอง
ตัวอย่าง การเรียกใช้งานฟังก์ชัน
การส่งค่าและรับคืนค่าจากฟังก์ชัน
3.บรรทัดที่ 8 มีการเรียกใช้ฟังก์ชัน print() โดยส่งข้อมูลจำนวน 2 ตัวคือ สตริง”ค่าโดยสารของท่าน คือ” และตัวแปร fare การทำงานของฟังก์ชัน print() จะพิมพ์ค่าที่ส่งไปให้ออกทางจอภาพเรียงตามลำดับ
ตัวอย่าง การเรียกใช้งานฟังก์ชัน
คำศัพท์ที่เจอในฟังก์ชัน
ฟังก์ชันและการคิดเชิงนามธรรม
03
รับข้อมูล input()
แสดงผลใช้ print()
การใช้ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของการซ่อนรายละเอียดในการคิดเชิงนามธรรม เนื่องจากมีการเรียกใช้ฟังก์ชัน ไม่จำเป็นต้องทราบรายละเอียดว่าภายในฟังก์ชันมีการทำงานอย่างไร แต่ทราบหน้าที่ของฟังก์ชัน ก็สามารถเรียกใช้งานได้
ฟังก์ชันและการคิดเชิงนามธรรม
ในการเรียกฟังก์ชัน ค่าที่ส่งไปให้กับฟังก์ชัน จะเรียกว่า อาร์กิวเมนต์ (argument) โดยอาจจะอยู่ในรูปของค่าข้อมูล ตัวแปร นิพจน์ ข้อความหรืออาจเป็นฟังก์ชันก็ได้ ซึ่งจำนวนอาร์กิวเมนต์อาจมีได้หลายตัว ขึ้นอยู่กับแต่ละฟังก์ชัน ถ้ามีอาร์กิวเมนต์หลายตัว จะเขียนใช้เครื่องหมาย , คั่นระหว่างอาร์กิวเมนต์แต่ละตัว
อาร์กิวเมนต์
ชุดคำสั่ง ที่เรียกว่า บล็อก(block) จะอยู่บรรทัดถัดจากเครื่องหมาย : ใช้ร่วมกับการใช้ย่อหน้า(indentation) ของบล็อก และสิ้นสุดคำสั่งเมื่อยุติการย่อหน้านั้น ในการเขียนโปรแกรมไพทอนนิยมย่อหน้าโวย การเคาะแป้นเว้นวรรค 4 ครั้ง
บล็อก
Thanks!